ข้อมูลจากศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจ และธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มาเรียบเรียงข้อมูล ให้อ่านง่ายมากขึ้น
โดยการวิเคราะห์ทางศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจ และธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้พิจารณาจากข้อมูลด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้
- ข้อมูลด้านการนำเข้าและส่งออก
- ข้อมูลสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
- ข้อมูลดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต
- ข้อมูลดัชนีราคาผู้บริโภค และดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค
- ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม และดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ
- ตารางปัจจัยการผลิต I-O Table
- ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย และประเทศคู่ค้าที่สำคัญ
- ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ และข้อมูลด้านอื่นๆ
- ข้อมูลสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
- ข้อมูลดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรมและอัตราการใช้กำลังการผลิต
- ข้อมูลดัชนีราคาผู้บริโภค และดัชนีความเชื่อมั่นของผู้บริโภค
- ดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม และดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ
- ตารางปัจจัยการผลิต I-O Table
- ภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย และประเทศคู่ค้าที่สำคัญ
- ดัชนีตลาดหลักทรัพย์ และข้อมูลด้านอื่นๆ
ลองมาดูกันว่า 10 อันดับธุรกิจน่าสนใจ ในปี 2556 มีอะไรบ้าง
อันดับ 10 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (โดยเฉพาะแนวดิ่ง) และธุรกิจด้าน Logistic
อันดับ 9 ธุรกิจก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง และธุรกิจสถาบันการเงิน
อันดับ 8 ธุรกิจด้านการศึกษา และธุรกิจด้านอิเล็กทรอนิกส์
อันดับ 7 ธุรกิจเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ บุหรี่
อันดับ 6 ธุรกิจด้านอาหาร
อันดับ 5 ธุรกิจพลังงาน และพลังงานทดแทน
อันดับ 4 ธุรกิจบริการ จำหน่ายน้ำมัน ก๊าซ NGV LPG
อันดับ 3 ธุรกิจด้านสื่อโทรทัศน์
อันดับ 2 ธุรกิจด้านเทคโนโลยีสื่อสาร
อันดับ 1 ธุรกิจทางการแพทย์ และความงาม
นอกจากนี้ ผลวิจัยจากศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจ และธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ยังได้วิเคราะห์ถึงปัจจัยสนับสนุน และปัจจัยบั่นทอน ในการดำเนินธุรกิจในปี 2556
ปัจจัยสนับสนุน
- เศรษฐกิจโลกฟื้นตัวและเศรษฐกิจเอเซียยังคงขยายตัวได้ดี
- มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐบาลไทย
- การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
- อัตราดอกเบี้ยทรงตัวอยู่ในระดับต่ำ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (บาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น)
- แนวโน้มราคาพืชผลทางการเกษตรปรับตัวดีขึ้น และการดูแลราคาสินค้าของภาครัฐ
- ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนที่ดีขึ้น
- มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจและการลงทุนขนาดใหญ่ของรัฐบาลไทย
- การปรับตัวเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
- อัตราดอกเบี้ยทรงตัวอยู่ในระดับต่ำ ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยน (บาทมีแนวโน้มแข็งค่าขึ้น)
- แนวโน้มราคาพืชผลทางการเกษตรปรับตัวดีขึ้น และการดูแลราคาสินค้าของภาครัฐ
- ความเชื่อมั่นของผู้บริโภคและนักลงทุนที่ดีขึ้น
ปัจจัยบั่นทอน
- ความไม่แน่นอนของการฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
- สถานการณ์ทางด้านการเมืองไทย
- ระดับราคาน้ำมันมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น
- ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น เช่น ค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท และราคาวัตถุดิบต่างๆ
- ภัยธรรมชาติ
- สถานการณ์ทางด้านการเมืองไทย
- ระดับราคาน้ำมันมีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้น
- ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น เช่น ค่าจ้างขั้นต่ำ 300 บาท และราคาวัตถุดิบต่างๆ
- ภัยธรรมชาติ
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น